ในการศึกษาเรื่องเลือกตั้ง พรรคการเมืองใช้ 3 วิธี
วิธีแรก คือ การแจกเงินให้รายหัว หรือแจกสิ่งของ
วิธีที่ 2 ให้เฉพาะคนในคลับหรือในสโมสร ให้ในเชิงโครงการสำหรับคนในพื้นที่
เช่น ปรับถนนเข้าหมู่บ้าน สร้างบ่อน้ำ โรงเรียน และ
วิธีที่ 3 คือ การให้เชิงนโยบาย ซึ่งครอบคลุมคนทั้งประเทศ
โรคร้อยเอ็ด ในปี 2522 คนทำให้เกิด คือ พล.อ.เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ ต้องแจกเงินซื้อเสียง เพราะไม่มีฐานเสียงทำให้ยิ่งต้องแจกเงินมาก
ถ้าเขามีฐานเสียงแน่น จะทำในรูปแบบที่ 2 ซึ่งค่าเฉลี่ยในการซื้อเสียงต่ำมาก เช่น ในจังหวัดสุพรรณบุรี ทำมาตลอดทั้งปี และทำมาตลอดหลายปี [ทำมาตลอดชีวิต]
🙏❤️💋😘🐸🐢🐠🐬🐞🌐🌀🌏
https://wp.me/p7UiOl-HB
#พรรคชาติไทยพัฒนา , Chartthaipattana Party, ประจักษ์ ก้องกีรติ , ทีดีอาร์ไอ, เสวนาสาธารณะ
“สวัสดิการประชาชน และมาตรการแก้จน บนโจทย์วินัยการคลัง” : NEWS HOUR ( ช่วงที่ 3 ) 14/12/2018
สวัสดิการประชาชน และมาตรการแก้จน บนโจทย์วินัยการคลัง
เสวนาสาธารณะ: สวัสดิการประชาชน และมาตรการแก้จน บนโจทย์วินัยการคลัง
วันที่ 14 ธันวาคม สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย หรือทีดีอาร์ไอ จัดเวทีเสวนาสาธารณะ “สวัสดิการประชาชน และมาตรการแก้จนของรัฐบาล บนโจทย์วินัยทางการคลัง” ณ ห้อง Conference room ชั้น 2 ทีดีอาร์ไอ
1
Peace News
14/12/2018 เวลา 16:42 น. ·
เชื่อ ลต.62 ไม่พ้นหว่านเงินซื้อเสียง
เหตุพรรคอ่อนแอแข่งนโยบายน้อยลง
“ดร.ประจักษ์”ชี้เลือกตั้งปีหน้า หนีไม่พ้นแจกเงินซื้อเสียง เหตุ รธน.ลดทอนพรรคการเมืองเข้มแข็ง การแข่งขันด้วยนโยบายจะลดน้อยลง ยันแจก 500 บาท/หัว ไม่ใช่ตัวเลขได้มาลอยๆ แต่คือราคาตลาดซื้อเสียงไทย เชื่อแจกเงินคนจนเทียบเท่าซื้อเสียง
2
ในการศึกษาเรื่องเลือกตั้ง พรรคการเมืองใช้ 3 วิธี
วิธีแรก คือ การแจกเงินให้รายหัว หรือแจกสิ่งของ
วิธีที่ 2 ให้เฉพาะคนในคลับหรือในสโมสร ให้ในเชิงโครงการสำหรับคนในพื้นที่
เช่น ปรับถนนเข้าหมู่บ้าน สร้างบ่อน้ำ โรงเรียน และ
วิธีที่ 3 คือ การให้เชิงนโยบาย ซึ่งครอบคลุมคนทั้งประเทศ
โรคร้อยเอ็ด ในปี 2522 คนทำให้เกิด คือ พล.อ.เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ ต้องแจกเงินซื้อเสียง เพราะไม่มีฐานเสียงทำให้ยิ่งต้องแจกเงินมาก
ถ้าเขามีฐานเสียงแน่น จะทำในรูปแบบที่ 2 ซึ่งค่าเฉลี่ยในการซื้อเสียงต่ำมาก เช่น ในจังหวัดสุพรรณบุรี ทำมาตลอดทั้งปี และทำมาตลอดหลายปี [ทำมาตลอดชีวิต]
ประจักษ์ ก้องกีรติ
อาจารย์คณะรัฐศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์
รายงาน : ส่อง‘มาตรการแก้จน’ โรค‘ร้อยเอ็ด’ยุค4.0?
matichon – วันที่ 15 ธันวาคม 2561 – 13:00 น.
3
ผศ.ดร.ประจักษ์ ยกตัวอย่าง วิธีหาเสียงรูปแบบที่ 1 หลายคนคงได้ยินโรคร้อยเอ็ด ปี 2522 สมัยพลเอกเกรียงศักดิ์ ชมะนันท์ ลงเล่นการเมืองไม่มีฐานเสียง ไม่มีความนิยมทางการเมือง จะทุ่มแจกเงินเยอะ งานวิจัยพบว่า ส.ส.ที่มีฐานเสียงแน่นหนาจะมาทำแบบที่ 2 มากกว่า และมีอัตราการจ่ายเงินที่ต่ำกว่าค่าเฉลี่ยก็ยังชนะเลือกตั้ง เพราะให้ประชาชนมาตลอดชีวิต เช่นที่สุพรรณบุรี
สำนักข่าวอิศรา
14/12/2018 เวลา 14:46 น. ·
ตัวเลขค่าเฉลี่ยของการซื้อเสียงของประเทศไทย อยู่ที่ 500 บาทต่อหัว ฉะนั้น 500 บาท ไม่ได้มาโดยบังเอิญ มีการทำการบ้านมาแล้ว นี่คือราคาตลาดการซื้อเสียง
ผศ.ดร.ประจักษ์ ก้องกีรติ :500 บาท/หัว นี่คือราคาตลาดการซื้อเสียงในประเทศไทย
isranews.org – วันศุกร์ ที่ 14 ธันวาคม 2561 เขียนโดย thaireform
- Voice TV 21 14/12/2018 18:40 น. · นักเศรษฐศาสตร์ มองรัฐสวัสดิการ
- เสวนาสาธารณะ: สวัสดิการประชาชน และมาตรการแก้จน บนโจทย์วินัยการคลัง – View Details
.
เสวนาสาธารณะ : สวัสดิการประชาชน และมาตรการแก้จน
บนโจทย์วินัยการคลัง : ประจักษ์ ก้องกีรติ
.
ในการศึกษาเรื่องเลือกตั้ง พรรคการเมืองใช้ 3 วิธี
.
วิธีแรก คือ การแจกเงินให้รายหัว หรือแจกสิ่งของ
วิธีที่ 2 ให้เฉพาะคนในคลับหรือในสโมสร ให้ในเชิงโครงการสำหรับคนในพื้นที่
เช่น ปรับถนนเข้าหมู่บ้าน สร้างบ่อน้ำ โรงเรียน และ
วิธีที่ 3 คือ การให้เชิงนโยบาย ซึ่งครอบคลุมคนทั้งประเทศ
.
โรคร้อยเอ็ด ในปี 2522 คนทำให้เกิด คือ พล.อ.เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ ต้องแจกเงินซื้อเสียง เพราะไม่มีฐานเสียงทำให้ยิ่งต้องแจกเงินมาก
.
ถ้าเขามีฐานเสียงแน่น จะทำในรูปแบบที่ 2 ซึ่งค่าเฉลี่ยในการซื้อเสียงต่ำมาก เช่น ในจังหวัดสุพรรณบุรี ทำมาตลอดทั้งปี และทำมาตลอดหลายปี [ทำมาตลอดชีวิต]
.
🙏❤️💋😘🐸🐢🐠🐬🐞🌐🌀🌏
https://wp.me/p7UiOl-HB
.
#ประจักษ์ก้องกีรติ , ทีดีอาร์ไอ, เสวนาสาธารณะ
.
LikeLiked by 1 person
โรคร้อยเอ็ดปี 2522 พล.อ.เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ ต้องแจกเงินซื้อเสียงเพราะไม่มีฐานเสียงทำให้ยิ่งต้องแจกเงินมาก
ถ้าเขามีฐานเสียงแน่น จะทำในรูปแบบที่ 2 ซึ่งค่าเฉลี่ยในการซื้อเสียงต่ำมาก เช่น ในจังหวัดสุพรรณบุรี ทำมาตลอดทั้งปี และทำมาตลอดหลายปี [ทำมาตลอดชีวิต] #ประจักษ์ก้องกีรติ
https://wp.me/p7UiOl-HB
LikeLiked by 1 person